ทุกะ (หมวดสอง)

รูป 2

รูป 2

รูป 2
1. มหาภูตรูป สภาวะอันปรากฏได้เป็นใหญ่ ๆ โต ๆ หรือเป็นต่าง ๆ ได้มากมาย
2. อุปาทายรูป รูปอาศัย รูปที่เป็นไปโดยอาศัยมหาภูตรูป

ปาพจน์ 2

ปาพจน์ 2

ปาพจน์ 2
1. ธรรม คำสอนแสดงหลักความจริงที่ควรรู้
2. วินัย ข้อบัญญัติที่วางไว้เป็นหลักกำกับความประพฤติให้เป็นระเบียบเรียบร้อยเสมอกัน

ปริเยสนา 2

ปริเยสนา 2

ปริเยสนา 2
1. อริยปริเยสนา การแสวงหาอย่างประเสริฐ
2. อนริยปริเยสนา การแสวงหาที่ไม่ประเสริฐ

ปฏิสันถาร 2

ปฏิสันถาร 2

ปฏิสันถาร 2
1. อามิสปฏิสันถาร การต้อนรับด้วยอามิส หรือการต้อนรับด้วยวัตถุสิ่งของ
2. ธัมมปฏิสันถาร การต้อนรับโดยธรรม หรือ การต้อนรับด้วยธรรม

บูชา 2

บูชา 2

บูชา 2
1. อามิสบูชา การบูชาด้วยอามิส
2. ปฏิปัตติบูชา การบูชาด้วยการปฏิบัติตาม

นิพพาน 2

นิพพาน 2

นิพพาน 2
1. สอุปาทิเสสนิพพาน สภาวะที่ดับกิเลสแต่ยังมีเบญจขันธ์เหลือ
2. อนุปาทิเสสนิพพาน สภาวะที่ดับกิเลสและไม่มีเบญจขันธ์เหลือ

ธรรม 2

ธรรม 2

ธรรม 2
1. รูปธรรม สภาวะอันเป็นรูป
2. อรูปธรรม สภาวะอันมิใช่รูป

เทศนา 2

เทศนา 2

เทศนา 2
1. ปุคคลาทิฏฐานา เทศนา การแสดงธรรมโดยการยกบุคคลขึ้นเป็นที่ตั้ง
2. ธัมมาทิฏฐานา เทศนา การแสดงธรรมโดยมีธรรมเป็นที่ตั้ง

ทิฏฐิ 2

ทิฏฐิ 2

ทิฏฐิ 2
1. สัสสตทิฏฐิ ความเห็นว่าเที่ยง
2. อุจเฉททิฏฐิ ความเห็นว่าขาดสูญ

กาม 2

กาม 2

กาม 2
1. กิเลสกาม กิเลสเป็นเหตุใคร่
2. วัตถุกาม วัตถุอันน่าใคร่

กรรมฐาน 2

กรรมฐาน 2

กรรมฐาน 2
1. สมถกรรมฐาน กรรมฐานเป็นอุบายสงบใจ
2. วิปัสสนากรรมฐาน กรรมฐานเป็นอุบายเรืองปัญญา

อริยบุคคล 2

อริยบุคคล 2

อริยบุคคล 2
1. พระเสขะ ผู้ยังต้องศึกษา
2. พระอเสขะ ผู้ไม่ต้องศึกษา