แนวข้อสอบนักธรรม

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม  นักธรรมชั้นตรี พ.ศ. 2553

ปัญหาข้อที่ 1 ถาม ธรรมมีอุปการะมากมีอะไรบ้าง ? ที่ว่ามีอุปการะมากนั้นเพราะเหตุไร ? ตอบ ธรรมมีอุปการะมากมี ที่ว่ามีอุปการะมากนั้นเพราะทำให้เป็นผู้ไม่ประมาทในการทำกิจการงานใด ๆ และเป็นอุปการะให้ธรรมเหล่าอื่นเกิดขึ้น ฯ ปัญหาข้อที่ 2…

อ่านต่อปัญหาและเฉลยวิชาธรรม  นักธรรมชั้นตรี พ.ศ. 2553
แนวข้อสอบธรรมศึกษา

ปัญหาและเฉลยวิชากรรมบถ (วินัย) ธรรมศึกษาชั้นเอก พ.ศ. ๒๕๕๒

ข้อใดเป็นความหมายของกรรมบถ กุศลกรรมนำสัตว์ให้ไปเกิดในกำเนิดที่ดี ตรงกับข้อใด อกุศลกรรมบถนำสัตว์ให้ไปเกิดในกำเนิดที่เลว ตรงกับข้อใด กรรมบถ 10 ประการ จัดเป็นกรรม 3 อย่าง ยกเว้นข้อใด ในทางพระพุทธศาสนา ว่าสุขทุกข์ของสัตว์ทั้งหลายเกิดจากอะไร อโลภะ…

อ่านต่อปัญหาและเฉลยวิชากรรมบถ (วินัย) ธรรมศึกษาชั้นเอก พ.ศ. ๒๕๕๒
แนวข้อสอบธรรมศึกษา

ปัญหาและเฉลยวิชาพุทธานุพุทธประวัติ  ธรรมศึกษาชั้นเอก พ.ศ. ๒๕๕๒

ประวัติของพระพุทธเจ้าและพระสาวก คือข้อใด ชาวชมพูทวีปมีทิฏฐิมานะกล้า ชอบรังเกียจกันด้วยเหตุใด ส่วนกลางของประเทศเป็นที่อยู่ของชนชาติอริยกะเรียกว่าอะไร ชมพูทวีป แบ่งออกเป็นกี่อาณาจักรใหญ่ บุตรที่เกิดจากมารดาบิดาต่างวรรณะกัน เรียกว่าอะไร ใครประกอบด้วยลักษณะแห่งเบญจกัลยาณี สุเมธดาบส ได้รับพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าพระองค์ใด พระโพธิสัตว์บำเพ็ญบารมีครบถ้วน ขณะเสวยพระชาติเป็นใคร การตรวจดูอันยิ่งใหญ่ก่อนเสด็จอุบัติเป็นมนุษย์ของพระมหาสัตว์ตรงกับข้อใด…

อ่านต่อปัญหาและเฉลยวิชาพุทธานุพุทธประวัติ  ธรรมศึกษาชั้นเอก พ.ศ. ๒๕๕๒
แนวข้อสอบธรรมศึกษา

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม  ธรรมศึกษาชั้นเอก พ.ศ. ๒๕๕๒

๑. ธรรมวิจารณ์ หมายถึงข้อใด ๒. คนผู้ไร้พิจารณ์ หมายถึง…..? ๓. ผู้ข้องอยู่ในโลกมีอาการเช่นไร ๔. ผู้ข้องอยู่ในโลกจะได้รับผลอย่างไร ๕. “ผู้รู้หาข้องอยู่ไม่” หมายความว่าอย่างไร ๖. ท่านเปรียบสิ่งที่มีอุปการะว่าเหมือนเภสัช…

อ่านต่อปัญหาและเฉลยวิชาธรรม  ธรรมศึกษาชั้นเอก พ.ศ. ๒๕๕๒
อตฺตา หิ ปรมํ ปิโย “ตนแล เป็นที่รักอย่างยิ่ง”

อตฺตา หิ ปรมํ ปิโย “ตนแล เป็นที่รักอย่างยิ่ง”

สัตว์โลกทั้งหลาย ย่อมรักและห่วงใยตัวเองเป็นที่ตั้ง ไม่ว่าจะเป็นมนุษย์ สัตว์ หรือแม้แต่สิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ต่างก็รักชีวิตของตัวเอง
อ่านต่ออตฺตา หิ ปรมํ ปิโย “ตนแล เป็นที่รักอย่างยิ่ง”
สัทธา 2

สัทธา 2

สัทธา 2 ประการ 1. กัมมผลสัทธา เชื่อกรรมและผลของกรรม 2. ตถาคตโพธิสัทธา เชื่อปัญญาตรัสรู้ของพระตถาคต
อ่านต่อสัทธา 2
ฌาน 2

ฌาน 2

ฌาน 2 ประการ 1. อารัมมณูปนิชฌาน การเพ่งอารมณ์ด้วยจิตที่เป็นสมาธิแน่วแน่ 2. ลักขณูปนิชฌาน การเพ่งลักษณะ
อ่านต่อฌาน 2
ฌาน 2

ฌาน 2

ฌาน 2 ประเภท 1. รูปฌาน ฌานมีรูปธรรมเป็นอารมณ์ 2. อรูปฌาน ฌานมีอรูปธรรมเป็นอารมณ์
อ่านต่อฌาน 2
เวทนา 2

เวทนา 2

เวทนา 2 ประการ 1. กายิกเวทนา เวทนาทางกาย ความรู้สึกทางกาย 2. เจตสิกเวทนา เวทนาทางใจ ความรู้สึกทางใจ
อ่านต่อเวทนา 2
อัตถะ 2

อัตถะ 2

อัตถะ 2 ประการ 1. เนยยัตถะ พระสูตรซึ่งมีความหมายที่จะต้องไขความ 2. นีตัตถะ พระสูตรซึ่งมีความหมายที่แสดงชัดโดยตรงแล้ว
อ่านต่ออัตถะ 2

ทาน 2

ทาน 2 ประการ 1. ปาฏิบุคลิกทาน การให้จำเพาะบุคคล 2. สังฆทาน แปลว่า การให้แก่สงฆ์
อ่านต่อทาน 2
สุข 2

สุข 2

สุข 2 ประการ 1. สามิสสุข ความสุขที่อิงอามิส 2. นิรามิสสุข ความสุขที่ไม่อิงอามิส
อ่านต่อสุข 2
ธรรม 2

ธรรม 2

ธรรม 2 ประการ 1. อุปาทินนธรรม แปลว่า ธรรมที่ถูกยึด 2. อนุปาทินนธรรม แปลว่า ธรรมที่ไม่ถูกยึด
อ่านต่อธรรม 2
ธรรม 2

ธรรม 2

ธรรม 2 ประการ 1. สังขตธรรม ธรรมอันปัจจัยปรุงแต่ง 2. อสังขตธรรม ธรรมอันปัจจัยไม่ได้ปรุงแต่ง
อ่านต่อธรรม 2
ธรรม 2

ธรรม 2

ธรรม 2 ประการ 1. โลกิยธรรม หรือ โลกียธรรม ธรรมอันเป็นวิสัยของโลก 2. โลกุตรธรรม ธรรมอันมิใช่วิสัยของโลก
อ่านต่อธรรม 2